วันอังคารที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552

อาณาเขตและการการปกครอง




อาณาเขตติดต่อ

การปกครอง แบ่งออกเป็น 10 อำเภอ 87 ตำบล 723 หมู่บ้าน

  1. อำเภอเมืองตรัง
  2. อำเภอกันตัง
  3. อำเภอย่านตาขาว
  4. อำเภอปะเหลียน
  5. อำเภอสิเกา
  6. อำเภอห้วยยอด
  7. อำเภอวังวิเศษ
  8. อำเภอนาโยง
  9. อำเภอรัษฎา
  10. อำเภอหาดสำราญ
แผนที่

ประชากร

ประชากรในจังหวัดตรังส่วนใหญ่จะเป็นชาวไทยเชื้อสายจีน รองลงมาเป็นชาวไทย รวมไปถึงชาวมุสลิม คนกลุ่มนิกริโต และชาวเลในท้องถิ่น ประชากรร้อยละ 80 นับถือศาสนาพุทธ รองลงมาเป็นชาวมุสลิมร้อยละ 18.5 และศาสนาคริสต์ร้อยละ 1.5 มีวัดทั้งหมด 129 แห่ง สำนักสงฆ์ 65 แห่ง มัสยิด 87 แห่ง โบสถ์คริสต์ 10 แห่ง ศาลเจ้าและโรงเจ 19 แห่ง

[แก้] สัญลักษณ์ประจำจังหวัด

  • ตราประจำจังหวัด:ภาพกระโจมไฟและภาพลูกคลื่น ภาพกระโจมไฟหมายถึง จังหวัดตรังเคยเป็นเมืองท่าค้าขายกับต่างประเทศ ภาพลูกคลื่นหมายถึง ลักษณะพื้นที่ของจังหวัดตรัง เป็นเนินเล็ก ๆ สูง ๆ ต่ำ ๆ คล้ายลูกคลื่น
  • ดอกไม้ประจำจังหวัด: ดอกศรีตรัง (Jacaranda filicifolia)
  • ต้นไม้ประจำจังหวัด: ศรีตรัง (Jacaranda filicifolia)
  • คำขวัญประจำเมือง: ชาวตรังใจกว้าง สร้างแต่ความดี
  • คำขวัญประจำจังหวัด: เมืองพระยารัษฎา ชาวประชาใจกว้าง หมูย่างรสเลิศ ถิ่นกำเนิดยางพารา เด่นสง่าดอกศรีตรัง ปะการังใต้ทะเล เสน่ห์หาดทรายงาม น้ำตกสวยตระการตา (The city of Phraya Rasda; broad-hearted citizen; delicious roast pork; origin place of para rubber; Lovely Sri Trang flower; beautiful coral reef; charming sandy beach; and wonderful waterfalls.)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น